ในวัยเกษียณ เรามีเงินจากไหนไว้ใช้บ้าง
สิทธิ์จากการทำงาน – ประกันสังคม: เงื่อนไขการรับบำนาญชราภาพ • มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ ส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 180 เดือน (15 ปี) – จะเป็นการส่ง ต่อเนื่องหรือไม่ต่อเนื่องก็ได้ – ถ้าส่งไม่ครบ 180 เดือน […]
สิทธิ์จากการทำงาน – ประกันสังคม: เงื่อนไขการรับบำนาญชราภาพ • มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ ส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 180 เดือน (15 ปี) – จะเป็นการส่ง ต่อเนื่องหรือไม่ต่อเนื่องก็ได้ – ถ้าส่งไม่ครบ 180 เดือน […]
ลูกค้าเดิมได้เก็บเงินมาซื้อประกันสะสมทรัพย์ 99/1 อีกฉบับ ซึ่งรวมแล้วมี 5 ฉบับ ลูกค้ายังคงให้เหตุผลที่ตัดสินใจซื้อเหมือนเดิม คือ ชอบที่ได้ผลตอบแทนสูงที่สุดในความเสี่ยงต่ำ ในโปรดักส์ทั้งหมดที่ลูกค้ารู้จักและสามารถซื้อได้ คงดอกเบี้ย 2.5% ไปจนถึงอายุ 99 ปี และปีนี้ลูกค้ารีบมาซื้อเพราะเห็นดอกเบี้ยนโยบายลดแล้ว กลัวว่าประกันสะสมทรัพย์ 99/1 จะไม่มีขายอีกแล้วค่ะ ทำให้ปีหน้าจนถึงอายุ
1.ถ้าเสียชีวิต ครอบครัวได้เงินหลายเท่าของเงินที่ออมไป สำหรับคนที่เป็นเสาหลักของครอบครัว หากเสียชีวิต คนข้างหลังยังสามารถใช้ชีวิตต่อไปได้ 2.ผลตอบแทนแน่นอน ตามสัญญาในกรมธรรม์ ช่วยให้เงินออมของเรามีความปลอดภัย ไม่เสี่ยงเหมือนกับการลงทุนที่มีโอกาสเสียเงินบางส่วนหรือทั้งหมด 3.เป็นเครื่องมือวางแผนการเงินในอนาคต ช่วยทำให้มีเงินเพื่อตอบโจทย์สิ่งที่เราต้องการในอนาคต เช่น เพื่อเป็นทุนการศึกษาลูก ออมเงินเพื่อซื้อบ้าน เป็นต้น 4.ลดหย่อนภาษีสูงสุด 100,000 บาท นอกจากได้ออมเงินแล้ว ยังได้ลดหย่อนภาษีอีกด้วย
หากเราไม่มีเงินใช้ 1 เดือน อาจจะทำให้การใช้ชีวิตของเรายากขึ้น แต่หากเราไม่มีเงินใช้ 30 ปีขึ้นไป การใช้ชีวิตจะยากแค่ไหน? เมื่อเข้าถึงวัยเกษียณ จะเป็นช่วงที่เราไม่มีรายได้ สมมติเราเกษียณตอนอายุ 60 และเสียชีวิตตอนอายุ 90 เราจะต้องใช้เงินจำนวนมากไปกับการใช้ชีวิต ค่าอาหาร ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่ารักษาพยาบาลที่ตอนอายุมากมีความเสี่ยงในการเจ็บป่วยสูง เพราะฉะนั้นการเก็บเงินเพื่อไว้ใช้ตอนไม่มีรายได้
ก่อนที่จะเลือกลงทุนในกองทุนรวมทอง เรามารู้ข้อดีข้อเสียของการลงทุนในกองทุนรวมทองกันก่อนค่ะ ข้อดี: – ใช้เงินน้อย บางกองทุนเริ่มต้นแค่เพียง 1 บาทก็ซื้อกองทุนรวมทองได้ – สะดวกในการซื้อขาย ผ่านเว็บไซต์หรือแอพลิเคชั่น – สะดวกในการเก็บรักษามากกว่าซื้อทองจริง ข้อเสีย: – มีค่าธรรมเนียมการซื้อขาย การบริหารจัดการ – ราคามีความผันผวน อาจขาดทุนได้
OPD(ผู้ป่วยนอก) = การรักษาที่ไม่ได้นอนในโรงพยาบาล หรือติดตามอาการ IPD(ผู้ป่วยใน) = การรักษาที่ต้องนอนค้างคืนในโรงพยาบาล Deductible(รับผิดส่วนแรก) = จ่ายเองส่วนนึง แล้วที่เหลือบริษัทประกันจ่ายให้ จ่ายเป็นยอดคงที่ ขึ้นอยู่กับแผนประกันที่ได้ทำไว้ Copayment(ร่วมจ่าย) = ร่วมจ่ายตามสัดส่วนเปอร์เซนต์ทุกครั้งที่ใช้ประกันรักษา เช่น ค่ารักษา 1,000,000
ประกัน 13 หมวดมีอะไรบ้าง แล้วประกันสุขภาพเหมาจ่าย วงเงิน 15 ล้าน ครอบคลุมอะไรบ้าง หมวด 1: ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการในโรงพยาบาล ต่อการเข้าพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน – ค่าห้องที่ได้: 6,000 บาท/วัน – ค่าห้อง
หมวด 1: ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการในโรงพยาบาล 1.ค่าห้อง: ค่าห้องพักผู้ป่วย ไม่รวมค่าบริการอื่นๆ 2.ค่าอาหาร: ค่าอาหารในช่วงเวลาที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 3.ค่าบริการในโรงพยาบาล: ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ช่วงที่รับการรักษาในโรงพยาบาล หมวด 2: ค่ารักษาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในตอนที่เรานอนในโรงพยาบาล 4.ค่าบริการพยาบาล: ค่าใช้จ่ายนี้ไม่รวมในหมวด 1
1. A – Accumulation Class: แบบไม่จ่ายปันผล ตัวอย่าง: SCBS&P500A, MEGA10-A, SCBDJI(A) – ทุกครั้งที่ขาย ไม่ถูกหักภาษี 10% – เหมาะกับผู้ที่คาดการณ์ว่ากองทุนจะเติบโตไปเรื่อยๆ และต้องการขายทำกำไรด้วยตัวเอง 2. R –
ในด้านกองทุนรวม: ลูกค้าได้ลงทุนในกองทุนรวมตราสารเงินและตราสารหนี้ เพื่อกระจายความเสี่ยงในความเสี่ยงที่ต่ำ ลูกค้าบางท่านเลือกลงทุนในตราสารหนี้ เพื่อโอกาสในการเพิ่มผลตอบแทนในช่วงดอกเบี้ยขาลง ในส่วนตราสารทุน กองทุนที่ลูกค้านิยมซื้อ เช่น กองทุนที่อ้างอิงดัชนีของอเมริกา (S&P500, Nasdaq), กองทุนรวมที่เป็น Mega 10 ต่างๆ, กองทุนรวมที่ลงทุนในทอง เป็นต้น โดยซื้อในแบบลดหย่อนภาษี และไม่ได้ลดหย่อนภาษี ส่วนกองทุนลดหย่อนภาษี