ในวัยเกษียณ เรามีเงินจากไหนไว้ใช้บ้าง
สิทธิ์จากการทำงาน – ประกันสังคม: เงื่อนไขการรับบำนาญชราภาพ • มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ ส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 180 เดือน (15 ปี) – จะเป็นการส่ง ต่อเนื่องหรือไม่ต่อเนื่องก็ได้ – ถ้าส่งไม่ครบ 180 เดือน […]
สิทธิ์จากการทำงาน – ประกันสังคม: เงื่อนไขการรับบำนาญชราภาพ • มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ ส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 180 เดือน (15 ปี) – จะเป็นการส่ง ต่อเนื่องหรือไม่ต่อเนื่องก็ได้ – ถ้าส่งไม่ครบ 180 เดือน […]
ลูกค้าเดิมได้เก็บเงินมาซื้อประกันสะสมทรัพย์ 99/1 อีกฉบับ ซึ่งรวมแล้วมี 5 ฉบับ ลูกค้ายังคงให้เหตุผลที่ตัดสินใจซื้อเหมือนเดิม คือ ชอบที่ได้ผลตอบแทนสูงที่สุดในความเสี่ยงต่ำ ในโปรดักส์ทั้งหมดที่ลูกค้ารู้จักและสามารถซื้อได้ คงดอกเบี้ย 2.5% ไปจนถึงอายุ 99 ปี และปีนี้ลูกค้ารีบมาซื้อเพราะเห็นดอกเบี้ยนโยบายลดแล้ว กลัวว่าประกันสะสมทรัพย์ 99/1 จะไม่มีขายอีกแล้วค่ะ ทำให้ปีหน้าจนถึงอายุ
1.ถ้าเสียชีวิต ครอบครัวได้เงินหลายเท่าของเงินที่ออมไป สำหรับคนที่เป็นเสาหลักของครอบครัว หากเสียชีวิต คนข้างหลังยังสามารถใช้ชีวิตต่อไปได้ 2.ผลตอบแทนแน่นอน ตามสัญญาในกรมธรรม์ ช่วยให้เงินออมของเรามีความปลอดภัย ไม่เสี่ยงเหมือนกับการลงทุนที่มีโอกาสเสียเงินบางส่วนหรือทั้งหมด 3.เป็นเครื่องมือวางแผนการเงินในอนาคต ช่วยทำให้มีเงินเพื่อตอบโจทย์สิ่งที่เราต้องการในอนาคต เช่น เพื่อเป็นทุนการศึกษาลูก ออมเงินเพื่อซื้อบ้าน เป็นต้น 4.ลดหย่อนภาษีสูงสุด 100,000 บาท นอกจากได้ออมเงินแล้ว ยังได้ลดหย่อนภาษีอีกด้วย
หากเราไม่มีเงินใช้ 1 เดือน อาจจะทำให้การใช้ชีวิตของเรายากขึ้น แต่หากเราไม่มีเงินใช้ 30 ปีขึ้นไป การใช้ชีวิตจะยากแค่ไหน? เมื่อเข้าถึงวัยเกษียณ จะเป็นช่วงที่เราไม่มีรายได้ สมมติเราเกษียณตอนอายุ 60 และเสียชีวิตตอนอายุ 90 เราจะต้องใช้เงินจำนวนมากไปกับการใช้ชีวิต ค่าอาหาร ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่ารักษาพยาบาลที่ตอนอายุมากมีความเสี่ยงในการเจ็บป่วยสูง เพราะฉะนั้นการเก็บเงินเพื่อไว้ใช้ตอนไม่มีรายได้
OPD(ผู้ป่วยนอก) = การรักษาที่ไม่ได้นอนในโรงพยาบาล หรือติดตามอาการ IPD(ผู้ป่วยใน) = การรักษาที่ต้องนอนค้างคืนในโรงพยาบาล Deductible(รับผิดส่วนแรก) = จ่ายเองส่วนนึง แล้วที่เหลือบริษัทประกันจ่ายให้ จ่ายเป็นยอดคงที่ ขึ้นอยู่กับแผนประกันที่ได้ทำไว้ Copayment(ร่วมจ่าย) = ร่วมจ่ายตามสัดส่วนเปอร์เซนต์ทุกครั้งที่ใช้ประกันรักษา เช่น ค่ารักษา 1,000,000
ประกัน 13 หมวดมีอะไรบ้าง แล้วประกันสุขภาพเหมาจ่าย วงเงิน 15 ล้าน ครอบคลุมอะไรบ้าง หมวด 1: ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการในโรงพยาบาล ต่อการเข้าพักรักษาตัวเป็นผู้ป่วยใน – ค่าห้องที่ได้: 6,000 บาท/วัน – ค่าห้อง
หมวด 1: ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการในโรงพยาบาล 1.ค่าห้อง: ค่าห้องพักผู้ป่วย ไม่รวมค่าบริการอื่นๆ 2.ค่าอาหาร: ค่าอาหารในช่วงเวลาที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล 3.ค่าบริการในโรงพยาบาล: ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ช่วงที่รับการรักษาในโรงพยาบาล หมวด 2: ค่ารักษาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในตอนที่เรานอนในโรงพยาบาล 4.ค่าบริการพยาบาล: ค่าใช้จ่ายนี้ไม่รวมในหมวด 1
ค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้ป่วยติดเตียงที่บ้านสามารถแตกต่างกันไปตามระดับความต้องการการดูแลและปัจจัยต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์ทางการแพทย์ การจ้างผู้ดูแล และค่ายา/เวชภัณฑ์ ต่อไปนี้เป็นรายการค่าใช้จ่ายที่อาจเกี่ยวข้อง: 1. ค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์ เตียงผู้ป่วยไฟฟ้า: 20,000-50,000 บาท (หรือเช่าเดือนละประมาณ 1,000-2,000 บาท) ที่นอนลมกันแผลกดทับ: 5,000-10,000 บาท รถเข็น: 3,000-10,000
Co-Payments เริ่มปีหน้าค่า มีโอกาสสูงที่ต่อไปนี้จะไม่มีคุ้มครองตั้งแต่บาทแรก ลูกค้าอาจจะต้องร่วมจ่ายด้วยทุกครั้งค่ะ (สำหรับคนที่ซื้อไปแล้ว ไม่กระทบค่ะ) ถ้าใครที่ยังลังเลเรื่องประกันสุขภาพอยู่ แนะนำให้ทำภายในปีนี้ค่ะ — ประกันแบบมีส่วนร่วมจ่าย หรือ Co-payment คืออะไร? — แบบประกันสุขภาพที่ระบุเงื่อนไขว่า ทุกครั้งที่เข้ารับการรักษา จะต้องจ่ายร่วมตามเปอร์เซ็นที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ เช่น ซื้อประกันสุขภาพแบบ Co-payment
สำหรับใครที่ซื้อประกัน ต้องการหลักฐานเพื่อนำไปยื่นภาษี สามารถเข้าไปดาวน์โหลดได้ ด้วยวิธีนี้ค่ะ 1.เข้าแอพไทยประกันชีวิต เลือกที่เมนู “ดาวน์โหลดหนังสือรับรองการชำระเบี้ย” 2.เลือกดาวน์โหลด สอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับลดหย่อนภาษีได้ที่นี่ค่ะ ติดต่อทางไลน์: https://line.me/R/ti/p/@775usduq?from=page&searchId=775usduq ติดต่อทางแชทเฟสบุค: http://m.me/findoccozycorner ____________________________________________ สามารถสอบถามหมอมิ้ม FinDoc’s Cozy Corner ได้ โดยให้บริการดังนี้ค่ะ